วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4


Lesson learned 4 
5/02/2016.





The knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)






ประเภทของเด็กที่มีควาการพิเศษ

4.เด็กที่มีความบกพร่องทางทางการการพูดและภาษา
 ( Children With Speech And Language Disoorders)



เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด 
หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติด้านความชัดเจนในการปรับปรุงแต่งระดับและคุณภาพของเสียง จังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด

1.ความบกพพร่องในด้านการปรับปรุงเสียง
  • เสียงบางส่วนของคำขาดหายไป ''ความ '' เป็น '' คาม ''
  • ออกเสียงของตัวอื่นแทนที่ถูกต้อง "กิน"  "จิน" กวาด ฟาด
  • เพิ่มเสียงที่ไม่ใช่เสียงที่ถูกต้องลงไปด้วย "หกล้ม" เป็น หก- กะ- ล้ม
  • เสียงเพี้ยนหรือแปล่ง "แล้ว" เป็น "แล่ว"


2.ความบกพร่องของจังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด
 ( Speech Flow Disorders )
  • พูดไม่ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน
  • การเว้นวรรคตอนไม่ถูกต้อง
  • อัตราการพูดเร็วหรือช้าเกินไป
  • จังหวะของเสียงพูดผิดปกติ     
                   


3.ความบกพร่องของเสียงพูด
 ( Voice Disorders )
  • ความบกพร่องระดับเสียง
  • เสียงดังหรือค่อยเกินไป
  • คุณภาพของเสียงไม่ดี 

ความบกพร่องทางภาษา 
หมายถึง การขาดความสามารถที่จะเข้าใจความหมายของคำพูดและ / หรือไม่สามารถแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำ

1.การพัฒนาการทางภาษษช้ากว่าวัย ( Delayed Language )
  • มีความยากลำบากในการใช้ภาษา
  • ไม่สามารสร้างประโยคได้
2.ความผิดปกติทางการพูดและภาษษอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมองโดยทั่วไปเรียกว่าDysphasia หรือ Aphasia


  •  อ่านไม่ออก ( Alexia )
  • เขียนไม่ได้  ( Agraphia )


   Gerstmann's Syndrome
  • ไม่รู้ชื่อนิ้ว ( Finger Agnosia )
  • ไม่รู้ซ้ายขวา ( Allochiria )
  • คำนวณไม่ได้ ( Acaiculia )
  • เขียนไม่ได้ ( Agraphia )
  • อ่านไม่ออก ( Alexia)


5.เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
 ( Children With Physical And Health Impairments )




  • เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
  • อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
  • เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรง
  • มีปัญหาทางระบบประสาท
  • มีความลำบากในการเคลื่อนไหว


โรคลมชัก  ( Epilepsy )

1.การชักในช่วงเวลาสั้นๆ ( Petit Mall )
2.การชักแบบรุนแรง  ( Grand Mall )
3.อาการชักแบบ  ( Partial Complex )
4.อาการไม่รู้สึกตัว  ( Focal Partial )


5.ลมบ้าหมุ (Grand Mall )




เมื่อเกิดอาการชักจะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึกในขณะชักกล้ามเนื้อเกร็ง หรือแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น


 ซี.พี  Cerebral Palsy )



  • การเป็นอัมพาตเนื่องจากระบบประสาทสมองพิการ หรือ เป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอดหรือหลังคลอด
  • การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่างๆของสมองแตกต่างกัน
1.กลุ่มแข็งเกร็ง Spastic
  •  Spastic Hemiplegia อัมพาตครึ่งซีก
  •  Spastic Diplegia อัมพาตครึ่งท่อนบน
  •  Spastic  Paraplegia อัมพาตครึ่งท่อนบน
  •  Spastic Quadriplegia อัมพาตทั้งตัว

3.กลุ่มอาการแบบผสม ( Mixed )

กล้ามเนื้ออ่อนแรง ( Muscular Distrophy )



  • กิดจากเส้นประสาทสมองที่ควบคุมกล้ามเนื้อส่วนนั้นๆเสื่อมสลายตัว
  • เดินไม่ได้ นั่งไม่ได้ นอนอยู่กับที่
  • จะมีความพิการซ้อนในระยะหลัง คือ ความจำแย่ลง สติปัญญาเสื่อม

โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedie)

ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก  กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อน เนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนล่างไม่ติด


โปลิโอ ( Poriomyelitis )



  • มีอาการกล้ามเนื้อลีบเล็ก แต่ไม่มีผลกระทบต่อสติปัญญา
  • ยืนไม่ได้ หรืออาจจะปรับสภาพให้ยืนเดินได้ด้วยอุปกรณ์เสริม

แขนขาด้วนแต่กำเนิด ( Limb Deficiency )




ลักษณะของเด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ

  • มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
  • ทาเดินคล้ายกรรไกร
  • เดินขากะเผลก หรือเชื่องช้า
  • ไอเสียงแห่งบ่อยๆ



การนำไปใช้ (Application)


 นำไปใช้ในเวลาจะออกแบบการสอน และนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตเพื่อรับมือกับปัญหาที่จะเกิดขึ้น รู้ถึงสาเหตุของโรคที่เกดิดขึ้น



assessment (ประเมิน)
  

Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด เย็นสบาย  มีความเป็นระเบียบ

Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี  มีสมาธิ

Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน

 Evaluating teacher
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่างให้ดู








วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3

LESSON LEARNED 3 

29/01/2016



The knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)




 เรียนประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆคือ 
1.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง มีความเป็นเลิศทางสติปัญญาเรียกโดยทั่วๆไปว่า " เด็กปัญญาเลิศ "
 เด็กปัญญาเลิศ (Gifted Child)




ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ
  • พัฒนาทางร่างกายและจิตใจสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
  • เรียนรู้สิ่งต่างๆได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย
  • อยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจังชอบซักถาม
  • จดจำได้รวดเร็วและแม่นยำ


**เด็กฉลาด                                   **Gifted
ตอบคำถาม                                     ตั้งคำถาม
สนใจเรื่องที่ครูสอน                        เรียนรู้สิ่งที่สนใจ
ความจำดี                                        เบื่อง่าย
เรียนรู้ง่ายและเร็ว                           ชอบเล่า
พอใจผลงานของตน                      ติเตียนผลงานของตน


2.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง

1.เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
2.ด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
3.ด็กที่บกพร่องทางการเห็น
4.ด็กที่บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
5.ด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
6.ด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
7.ด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้
8.เด็กออทิสติก
9.เด็กพิการซ้ำซ้อน

1.เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญ (Children With Intellectual Disadilities)

หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และ เด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า 

  • สามรถเรียนรู้ในชั้นเรียน
  • ขาดทักษะในการเรียนรู้

-มีระดับสติปัญญา IQ ประมาณ 71-90 
สาเหตุของการเรียนช้า

**ภายนอก                                                               **ภายใน


-เศรษฐกิจของครอบครัว                                       -พัฒนาการช้า
-สร้างเสริมประสบการณ์ของคนให้แก่เด็ก          -การเจ็บป่วย


                                          เด็กปัญญาเลิศ



  • ระดับสติปัญญาต่ำ
  • พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
  • มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง
  • อาการแสดงก่อนอายุ 18


   เด็กปัญญาอ่อน




แบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้4กลุ่ม

-เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักหนักมาก IQ ต่ำกว่า20
-เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34
-เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49
-เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70


                          ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome)





สาเหตุ 
  • ความผิดปกติของโครดมโซมคู่ที่ 21
  • ที่พบบ่อยคือโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง  ( TRisomy 21 )

อาการ

  • ศรีษะเล็กและแบน คอสั้น
  • หน้าแบน ดั้งจมูกแบน
  • ตาเฉียง ปากเล็ก
  • มือแบนกว้าง นิวมือสั้น

การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดกลุ่มอาการดาวน์

  • การเจาะเลือดของมารดาในระหว่างที่ตั้งครรภ์
  • อัลตราซาวน์
  • การตัดชิ้นเนื้อรก
  • การเจาะน้ำคร่ำ

2.เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
( Childdren With Hearing Impaired )



หมายถึงเด็กที่มีความบกพร่องหรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่างๆได้ไม่ชัดเจนมี 2 ประเภทคือ เด็กหูตึง และเด็กหูหนวก


3.เด็กที่บกพร่องทางการการเห็น
( Childdren With Visual Impairments )




  • เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสงเห็นเลือนลาง
  • มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
  • สามารถเห็นได่ไม่ถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
  • มีลานตาสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา

จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือเด็กตาบอด และเด็กตาบอดสนิท 

ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการเห็น
  • เดินงุ่มง่าม ชนและสะดุดวัตถุ
  • มองเห็นสีผิดไปจากปกติ
  • มักบ่นว่าปวดศรีษะ
  • ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน



การนำไปใช้ (Application)


 นำไปใช้ในเวลาจะออกแบบการสอน และนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตเพื่อรับมือกับปัญหาที่จะเกิดขึ้น



assessment (ประเมิน)

Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด เย็นสบาย 

Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี  มีสมาธิ

Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน

 Evaluating teacher
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย



บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

Lesson learned 2  
22/01/2016





The knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)



  • เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ( Children With Special Need  )
  • เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
  • ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ



1.มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า " เด็กพิการ "
หมายถึง เด็กที่มีความผิดปกติมีความบกพร่อง สูญเสียสมรรถภาพ อาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกาย การสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทางจิตใจ 

2.ทางการศึกษา หมายถึง เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา กระบวนการที่ใช้และการประเมินผล



พฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

-การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
-ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น


เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ

-เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
-พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หลายด้านหรือทุกด้าน
-พัฒนาการล่าช้าในด้านใดด้านหนึ่งอาจจะส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าด้วยก็ได้


ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก

-ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
-ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
-ปัจจัยด้านกระบวนการการคลอด
-ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด


สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ

1.พันธุกรรม
2.โรคของระบบประสาท
3.การติดเชื้อ
4.ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม
5.ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
6.สารเคมี
7.การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
8.สาเหตุอื่นๆ


อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ 

-มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า1ด้าน
-ปฎิกิริยาสะท้อน (Primitive Reflex) ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป


แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ

1.การชักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.การสืบค้นทางห้องปฎิบัติการ
4.การประเมินพัฒนาการ


การประเมินที่ใช้ในเวชปฎิบัติ

-แบบทดสอบ Denver II
-Gesell Drawing Test
-แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก อายุแรกเกิด -5 สถาบันราชานุกูล



**ทำกิจกรรมหลังการเรียน**


วัดระดับไอคิวตั้งแต่ ชั้นป.1 - ป.6








การนำไปใช้ (Application)


 นำไปใช้ในเวลาจะออกแบบการสอน และนำไปพัฒนา
ด้านสติปัญญารของเด็กให้ดียิ่งขึ้น

Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด เย็นสบาย 

Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี  มีสมาธิ

Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน

 Evaluating teacher
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย